Happiness held is the seed.

Happiness shared is the flower.

ความสุขที่เก็บเอาไว้คือเมล็ด

ความสุขที่แบ่งปันคือดอกไม้ 

John Harrigan

Tag: Biotech

  • CRISPR-Cas9

    1953 เจมส์ วัตสัน (James Watson) และ ฟรานซิส คริก (Francis Crick) ค้นพบ DNA 1987 โยชิซูมิ อิชิโนะ (Yoshizumi Ishino) นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นประจำมหาวิทยาลัยโอซาก้า (Osaka University) ค้นพบ Palindromic ((ลำดับกรดนิวคลีอิค (nucleus acid) ในสารพันธุกรรมซึ่งเมื่ออ่านจากด้านหน้าและย้อนกลับจะเหมือนกัน และถูกคั่นด้วย DNA spacer)) ในแบคทีเรียอีโคไล (E. Coli) เขาจึงได้ทำการโคลนยีนส่วนนี้ออกมาพร้อมเรียกมันว่าเป็น “ iap gene” เพื่อทำการศึกษา  ซึ่งในตอนนั้นนักวิจัยยังไม่ทราบว่าเขาได้ทำการโคลน CRISPR แล้วโดยบังเอิญ 1993 ค้นพบ “CRISPR” ฟรานซิสโก้ โมจิก้า (Francisco Mojica) นักศึกษาปริญญาเอกของมหาวิทยาลัยอลิคานเต้ (University of Alicante) ในสเปน ซึ่งสนใจศึกษา Haloferax Mediterranean อาร์เคีย (archaea microbe) ชนิดหนึ่งซึ่งสามารถทนต่อน้ำที่มีความเค็มสูงได้ ซึ่งเขาได้ค้นพบว่าชิ้นส่วนพันธุกรรมยาวประมาณ 30 เบส (bases)  โมจิก้าได้ทำการศึกษา CRISPR ที่เขาแยกออกมาตั้งแต่ 1990s-2000 และได้มีโอกาสทำงานร่วมกับรูด แจนเซน (Ruud Jansen) นักวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยยูเทรชต์ (Utrecht University) เนเธอแลนด์ 2002 ในรายงานของ รูด แจนเซน  ได้ตั้งชื่อลำดับดีเอ็นเอที่ซ้ำกันนี้ว่า CRISPR (Clustered Regularly Interspaced Short Palindromic Repeats) เป็นครั้งแรก 2005 ค้นพบ “CAS 9” และ “PAM” อเล็กซานเดอร์ โบโลติน (Alexander Bolton) นักวิจัยของสถาบันวิจัยการเกษตรฝรั่งเศส (French National Institute for Agricultural Research, INRA) ซึ่งได้ทำการวิจัยแบคทีเรีย สเปตโตคอคคัส เทอร์โมฟิลัส (Streptococcus thermophilus)  ค้นพบ CAS ยีน และ PAM  (protospacer adjacent motif)  2006 สมมุติฐานว่า CRISPR เป็นระบบภูมิคุ้มกัน (adaptive immunity) ยูจีน โคนิน (Eugene Koonin) นักวิจัยประจำศูนย์ข้อมูบไบโอเทคโนโลยีสหรัฐฯ (US National Center…

  • CRISPR-Cas9

    1953 เจมส์ วัตสัน (James Watson) และ ฟรานซิส คริก (Francis Crick) ค้นพบ DNA 1987 โยชิซูมิ อิชิโนะ (Yoshizumi Ishino) นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นประจำมหาวิทยาลัยโอซาก้า (Osaka University) ค้นพบ Palindromic ((ลำดับกรดนิวคลีอิค (nucleus acid) ในสารพันธุกรรมซึ่งเมื่ออ่านจากด้านหน้าและย้อนกลับจะเหมือนกัน และถูกคั่นด้วย DNA spacer)) ในแบคทีเรียอีโคไล (E. Coli) เขาจึงได้ทำการโคลนยีนส่วนนี้ออกมาพร้อมเรียกมันว่าเป็น “ iap gene” เพื่อทำการศึกษา  ซึ่งในตอนนั้นนักวิจัยยังไม่ทราบว่าเขาได้ทำการโคลน CRISPR แล้วโดยบังเอิญ 1993 ค้นพบ “CRISPR” ฟรานซิสโก้ โมจิก้า (Francisco Mojica) นักศึกษาปริญญาเอกของมหาวิทยาลัยอลิคานเต้ (University of Alicante) ในสเปน ซึ่งสนใจศึกษา Haloferax Mediterranean อาร์เคีย (archaea microbe) ชนิดหนึ่งซึ่งสามารถทนต่อน้ำที่มีความเค็มสูงได้ ซึ่งเขาได้ค้นพบว่าชิ้นส่วนพันธุกรรมยาวประมาณ 30 เบส (bases)  โมจิก้าได้ทำการศึกษา CRISPR ที่เขาแยกออกมาตั้งแต่ 1990s-2000 และได้มีโอกาสทำงานร่วมกับรูด แจนเซน (Ruud Jansen) นักวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยยูเทรชต์ (Utrecht University) เนเธอแลนด์ 2002 ในรายงานของ รูด แจนเซน  ได้ตั้งชื่อลำดับดีเอ็นเอที่ซ้ำกันนี้ว่า CRISPR (Clustered Regularly Interspaced Short Palindromic Repeats) เป็นครั้งแรก 2005 ค้นพบ “CAS 9” และ “PAM” อเล็กซานเดอร์ โบโลติน (Alexander Bolton) นักวิจัยของสถาบันวิจัยการเกษตรฝรั่งเศส (French National Institute for Agricultural Research, INRA) ซึ่งได้ทำการวิจัยแบคทีเรีย สเปตโตคอคคัส เทอร์โมฟิลัส (Streptococcus thermophilus)  ค้นพบ CAS ยีน และ PAM  (protospacer adjacent motif)  2006 สมมุติฐานว่า CRISPR เป็นระบบภูมิคุ้มกัน (adaptive immunity) ยูจีน โคนิน (Eugene Koonin) นักวิจัยประจำศูนย์ข้อมูบไบโอเทคโนโลยีสหรัฐฯ (US National Center…

Don`t copy text!