Happiness held is the seed.

Happiness shared is the flower.

ความสุขที่เก็บเอาไว้คือเมล็ด

ความสุขที่แบ่งปันคือดอกไม้ 

John Harrigan

1812 : Napoleon and Holy See (1)

1812.Napoleon and the Holy See. Part One

Tags: History, War of 1812, Russia, World 15.12.2010, 09:07 It is held that Napoleon was finally defeated because of his military campaigns against Britain, Spain and Russia. But he fought yet another war, of which the results we clearly underestimate as materialistically minded people. That was a war against the Pope, and, in his person, against the Catholic Church, and possibly, and unwittingly, even against God proper, whom Napoleon saw as a competitor, as any dictator would. Napoleon wanted the whole of man, all through. In his army, God was simply struck off. The French had no chaplains, so the enlisted men attended no church services. Napoleon inherited the conflict between the secular authorities and the Church from the previous French government. The French Republic did not see atheism as an idea; the Republic’s leaders would hardly mind the Bible, since the Holy Scripture says that all power is given by God. In those days the assertion made it largely simpler for the authorities to deal with the lower orders, especially peasants. At the end of the 18th century, the Head of the Roman Catholic Church was Pope Pius VI. In those days the Catholic Church was being attacked from every quarter, and its power was bulging at the seams. But the strongest blow was dealt by the French Revolution. In 1789, the National Constituent Assembly abolished the tithe, and then ruled that church lands should be seized and sold. In 1790, the National Assembly demanded that the clergy should swear allegiance to the nation. Some priests did, and thus declared themselves servants of the French Republic, rather than God. They actually became bureaucrats. But other priests did not and thus set themselves against the new political order. In 1791, Pope Pius VI condemned the revolutionary decrees, above all the Declaration of the Rights of Man and Citizen. Читать далее Source: Voice of Russia.

หลังจากการปราชัยของนโปเลียนต่อทั้งอังกฤษ เสปนและรัสเซีย แต่ทว่าเขายังมีสงครามที่ยังเหลืออยู่อีก ซึ่งคนส่วนใหญ่ไม่ค่อยทราบหรือใส่ใจนัก นั้นคือ สงครามในการต่อสู้กับสันตะปาปา ซึ่งตัวนโปเลียนเองต่อต้านแคธอลิก ผู้ทำหน้าที่ติดต่อกับพระเป็นเจ้า ผู้ซึ่งนโปเลียนมองว่าเป็นคู่แข่งของเขา เช่นเดียวกับเผด็จการทั้งหลาย นโปเลียนต้องการเป็นเจ้าของมนุษย์ทั้งมวล ในกองทัพของเขาไม่มีนักบวชที่คอยประกอบพิธีให้ ซึ่งแนวความคิดต่อต้านพระเจ้าเขาได้รับมาจากรัฐบาลก่อนหน้านี้ของฝรั่งเศสที่กระอักกระอวนใจ ทีี่พระคัมภีร์เขียนว่าอำนาจของผู้นำเป้นอำนาจที่พระเป็นเจ้าประทานมาให้ ซึ่งในยุคนั้นมันอาจทำให้ง่ายในการสั่งการผู้ที่ระดับตำ่กว่าโดยเฉพาะชาวนา
ปลายศตวรรษที่ 18 ผู้นำแห่งนิกายโีรมันแคธอลิกคือ สันตะปาปา ปิอุส ที่ 6 (Pope Pius VI)  ตอนนั้นแคธอริกถูกโจมตีจากทุกสารทิศ และอำนาจหน้าที่ก็ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน โบสถ์ถูกกระทบจากการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี 1789 รัฐบาลขณะนั้น (National Constituent Assembly) ออกกฏหมายยึดที่ดินของโบสถ์เพื่อนำออกมาขายในปี 1790  และบีบบังคับให้นักบวชประกาศตัวให้ชัดเจนว่าจะจงรักภักดีและรับใช้สาธารณะรัฐฝรั่งเศส มากกว่าพระเป็นเจ้า ซึ่งมีนักบวชบางรูปปฏิบัติตาม ซึ่งทำให้พวกเขากลายเป็นเหมือนรับราชการ แต่ว่านักบวชบางรูปต่อต่านคำสั่งการเมืองนี้ และปี 1971 สันตะปาปาปิอุส ที่ 6 ทรงประกาศประณามคำสั่งของนักปฏิวัตินี้ และได้ประกาศ สิทธิของความเป็นมนุษย์และพลเมือง ว่าเหนืออื่นใด
ซึ่งศัตรูของอาณาจักรใหม่อย่างฝรั่งเศส ส่วนใหญ่ให้การสนับสนุนอย่างเหนี่ยวแน่นต่อสันตะปาปา ทำให้คณะผู้ปฏิวัติฝรั่งเศสต้องวางมือจากสันตะปาปาลงบ้าน และอ้างว่ามีภาระกิจอื่นที่สำคัญกว่าต้องดูแล้ว หลุย์ ที่ 16  (Louis XVI) ถูกประหารด้วยเครื่องกิโยตินในวันที่ 21 มกราคา 1793  พระราชินีแมรี อันตัวเนต์ต (Marie Antoinette) ก็ถูกบั่นพระเศียรตามมาในวันที่ 16 ตุลาคม ในปีเดียวกัน นโปเลียนเอาชนะกองทัพของพระสันตะปาปาได้ในปี 1979  จนทำให้วาติกันต้องลงนาม ทำสนธิสัญญาสันติภาพระหว่างกัน ที่เรียกว่าสนธิสัญญาโตเลนติโน่ (Tolentino treaty) ในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ อิตาลีต้องเสียดินแดนหลายส่วนให้ฝรั่งเศส เช่น โบโลกน่า (ฺBologna), เฟอร์รารา (Ferrara)และ แอนโคน่า (Ancona) และจ่ายเงินค่าคุ้มครองให้กับฝรั่่งเศส ส่วนนโปเลียนเองก็ตระหนักว่าคงไม่สามารถลดสถานะความเป็นผู้นำทางจิตใจของสันตะปาปาลงได้ ทำให้เขาเองต้องยอมรับในพระเจ้า อย่างน้อยมารดาของเขา เลติเซีย (Letizia) ครั้งหนึ่งก็เคยสวดมนต์ และยังเคยพาเขาเข้าไปในโบสถ์
แต่ว่าอิทธิพลของนโปเลียนในอิตาลีมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ระหว่างที่มีการใช้การบุกยึดอิตาลีเพื่อเป็นฐานคะแนนนิยมให้กับตัวเขา ทหารฝรั่งเศสเดินไปเดินมาในโรม ด้วยเครื่องแบบทหาร ที่มีสามสีแสดงถึงการปฏิวัติ (น้ำเงิน ขาว และแดง) ประชาชนโรมันบางส่วนก็เปลี่ยนไป ต่างตระโกนเรียกหา “เสรีภาพ เสรีภาพ” และต้องการสร้างการปกครองแบบสาธารณรัฐ ในคืน 19 กุมภาพันธ์ ชายสองคนชื่อ นายพล เคอโวนิ (General Cervoni ) และพลทหาร ฮอลเลอร์ (Haller) บุกเข้าไปยังห้องพักของสันตะปาปา พิอุส ที่ 6 ที่ตั้งอยู่ในราชวัง ไคร์นัล (Quirinal Palace) และพยายามบังคับให้พระองค์ประกาศสละอำนาจ แม้ว่าสันตะปาปาตอนนั้นจะทรงชรา 82 พระชนพรรษา ทั้งร่างการก็มีสุขภาพที่ไม่แข็งแรง แต่ได้ทรงปฏิเสธ ภายหลังนายพลเบอร์ไธเออร์ (Gerneral Berthier) จีงได้จับตัวโป๊ปจากวาติกันไปยังเซียน่า (Siena) และต่อไปยังเมืองวาเลนซ์ (Valence) วึ่งพระสันตะปาปาทางเสียชีวิตในปีถัดมา

 


 

Don`t copy text!